ฟังก์ชันนั้นมีอยู่หลายรูปแบบ แต่ละแบบก็มีการตั้งชื่อไม่เหมือนกัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของฟังก์ชันซึ่งเราจะไปดูว่าฟังก์ชันเอกซ์โพนเนนเชียลนั้นมีรูปแบบอย่างไร ก็ต้องไปดูนิยามของมันครับ ว่านิยามของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลนั้นเป็นอย่างไรฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลคือ ฟังก์ชัน f={(x,y)∈R×R∣y=ax,a>0,a≠1} อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ฟังก์ชันกำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง
ฟังก์ชันกำลังสอง คือ
ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป
เมื่อ a,b,c เป็นจำนวนจริงใดๆ
และ ลักษณะของกราฟของฟังก์ชันนี้ขึ้นอยู่กับค่าของ a
, b และ c และเมื่อค่าของ a เป็นบวกหรือลบ
จะทำให้ได้กราฟเป็นเส้นโค้งหงายหรือคว่ำ
ดังรูป อ่านเพิ่มเติม
ฟังก์ชันเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชั่นที่อยู่ในรูป f(x) = ax+b เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงเช่น f(x)
= 2x+1f(x) = -3x f(x) = x-5 เป็นต้น
กราฟของฟังก์ชั่นเหล่านี้เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน
ฟังก์ชั่นเชิงเส้น f(x) = ax+b เมื่อ a=0 จะได้ฟังก์ชั่นอยู่ในรูป f(x)
= b ฟังก์ชั่นนี้มีชื่อเรียกเฉพาะว่า ‘‘ ฟังก์ชั่นคงตัว ’’
(Constant function) กราฟของฟังก์ชั่นคงตัวจะเป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x เช่น f(x)
= 4 , f(x) = -2 เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า
และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d)
ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B สัญลักษณ์ ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B เขียนแทนด้วย A x B หรือ เขียนในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขจะได้ว่า อ่านเพิ่มเติม
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง
การนำสมบัติของจำนวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกำลังสอง ตัวแปร :
อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x , y ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวน ค่าคงตัว : ตัวเลขที่แททนจำนวน
เช่น 1, 2 นิพจน์ :
ข้อความในรูปสัญลักษณื เช่น 2, 3x ,x-8 , เอกนาม :
นิพจน์ที่เขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กำลังของตัวแปรเป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์
เช่น -3, 5xy , 2y อ่านเพิ่มเติม
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์
และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้ จำนวนอตรรกยะ (irrational
number) เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะซึ่งไม่สามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ำหรือเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ
และ สามารถกำหนดค่าโดยประมาณได้ อ่านเพิ่มเติม
จำนวนจริง
จากแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวนข้างต้น จะพบว่า ระบบจำนวนจริง
จะประกอบไปด้วย 1. จำนวนอตรรกยะ หมายถึง
จำนวนที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม หรือทศนิยมซ้ำได้
ตัวอย่างเช่น √2 , √3, √5, -√2, - √3, -√5 หรือ ¶ ซึ่งมีค่า 3.14159265…
2. จำนวนตรรกยะ หมายถึง
จำนวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำได้ ตัวอย่างเช่น เขียนแทนด้วย 0.5000... เขียนแทนด้วย 0.2000... อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ
หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน
และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป
หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน
เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุปนัย อ่านเพิ่มเติม
ยูเนียน อินเตอร์เซ็กชันและคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต เรานิยมเขียนออกมาในสองรูปแบบด้วยกันคือแบบสมการ
และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ เราลองมาดูกันครับว่ายูเนียน อินเตอร์เซกชัน
และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นอย่างไรพร้อมตัวอย่าง อ่านเพิ่มเติม
สับเซตและเพาเวอร์สับเซต
สับเซต (Subset) ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ
B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊄ B อ่านเพิ่มเติม
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊄ B อ่านเพิ่มเติม
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ถูกกำหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า
จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น
จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์
แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์ บทนิยามของเอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดในขอบข่ายที่กำลังพิจารณาอยู่ในขณะนั้น
เขียนแทนด้วย Uเช่นU = {x / x เป็นอักษรในภาษาอังกฤษ}A = {x / x เป็นสระในภาษาอังกฤษ}B
= {x / x เป็นอักษรในภาษาอังกฤษในคำว่า Math} อ่านเพิ่มเติม
เซต
เซต (อังกฤษ: set) ในทางคณิตศาสตร์นั้น อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ
ไว้รวมกันทั้งชุด แม้ว่าความคิดนี้จะดูง่ายๆ แต่เซตเป็นแนวคิดที่เป็นรากฐานสำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของคณิตศาสตร์สมัยใหม่
การศึกษาโครงสร้างเซตที่เป็นไปได้ ทฤษฎีเซตมีความสำคัญและได้รับความสนใจอย่างมากและกำลังดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
มันถูกสร้างขึ้นมาตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตอนนี้ทฤษฎีเซตเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ในการศึกษาคณิตศาสตร์ และถูกจัดไว้ในระบบการศึกษาตั้งแต่ระดับประถมศึกษาในหลายประเทศ ทฤษฎีเซตเป็นรากฐานของคณิตศาสตร์เกือบทุกแขนงซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)